ในโบราณกาล มีเมืองที่ใหญ่เมืองหนึ่งชื่อ กรุงธรรมปุระ พระราชาทรงพระนามว่า ท้าวมหาพล มีพระมเหสีที่ทรงสิริโฉมงดงามแม้มีพระราชธิดาที่ทรงเจริญวัยแล้ว ต่อมาได้เกิดศึกสงครามทหารของท้าวเอาใจออกห่าง ทำให้ทรงพ่ายแพ้ พระองค์จึงทรงพาพระมเหสีและพระราชธิดาหลบหนีออกจากเมืองเพื่อไปเมืองเดิมของพระมเหสี ในระหว่างทางท้าวมหาพลได้ถูกโจรรุมทำร้ายเพื่อชิงทรัพย์และสิ่งของมีค่า จนพระองค์สิ้นพระชนม์ จนพระราชธิดาและพระมเหสีเสด็จหนีเข้าไปในป่าลึก อ่านเพิ่มเติม
วันจันทร์ที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2560
นิทานเวตาล
นิทานเวตาล (สันสกฤต: वेतालपञ्चविंशति เวตาลปัญจวิงศติ แปลว่า นิทานเวตาล 25 เรื่อง) เป็นวรรณกรรมสันสกฤตโบราณ ซึ่งเล่าขานโดยกวีชื่อ ศิวทาส และได้ถูกเล่าขานกันต่อมากว่า 2,500 ปีล่วงมาแล้ว โครงเรื่องหลักของนิทานเรื่องนี้เป็นเรื่องการโต้ตอบตอบปัญหาระหว่างพระวิกรมาทิตย์ กษัตริย์แห่งกรุงอุชชิยนี กับเวตาล ปีศาจที่มีร่างกายกึ่งมนุษย์กับค้างคาว ซึ่งจะนำเข้าไปสู่นิทานย่อยต่างๆ ที่แทรกอยู่ในเรื่องนี้รวม 25 เรื่อง ลักษณะดังกล่าวคล้ายกับนิทานอาหรับราตรี หรือ "พันหนึ่งราตรี" ซึ่งเป็นนิทานชุดในซีกโลกอาหรับที่ได้รับความนิยมอย่างมากอีกชุดหนึ่ง
อ่านเพิ่มเติม
อ่านเพิ่มเติม
เนื้อเรื่องอิเหนา (ฉบับย่อ)
อิเหนาเป็น วรรณคดีเก่าแก่เรื่องหนึ่งของไทย เป็นที่รู้จักกันมานาน เข้าใจว่าน่าจะเป็นช่วงปลายสมัยกรุงศรีอยุธยา โดยได้ผ่านมาจากหญิงเชลยปัตตานี ที่เป็นข้าหลวงรับใช้พระราชธิดาของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ(ครองราชย์ พ.ศ. 2275 2301) โดยเล่าถวายเจ้าฟ้ากุณฑลและเจ้าฟ้ามงกุฎ พระราชธิดา จากนั้นพระราชธิดาทั้งสองได้ทรงแต่งเรื่องขึ้นมาองค์ละเรื่อง เรียกว่าอิเหนาเล็ก (อิเหนา) และอิเหนาใหญ่ (ดาหลัง) อ่านเพิ่มเติม
อิเหนา
อิเหนาเป็น วรรณคดีเก่าแก่เรื่องหนึ่งของไทย เป็นที่รู้จักกันมานาน เข้าใจว่าน่าจะเป็นช่วงปลายสมัยกรุงศรีอยุธยา โดยได้ผ่านมาจากหญิงเชลยปัตตานี ที่เป็นข้าหลวงรับใช้พระราชธิดาของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ (ครองราชย์ พ.ศ. 2275 – 2301) โดยเล่าถวายเจ้าฟ้ากุณฑลและเจ้าฟ้ามงกุฎ พระราชธิดา จากนั้นพระราชธิดาทั้งสองได้ทรงแต่งเรื่องขึ้นมาองค์ละเรื่อง เรียกว่าอิเหนาเล็ก (อิเหนา) และอิเหนาใหญ่ (ดาหลัง) ประวัติดังกล่าวมีบันทึกไว้ในพระราชนิพนธ์อิเหนา ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย อ่านเพิ่มเติม
คำนมัสการคุณานุคุณ
คำนมัสการคุณานุคุณ ผลงานการประพันธ์ของ พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) มีเนื้อหาว่าด้วยการน้อมรำลึกในคุณงามความดีของพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ บิดามารดา และครูอาจารย์ โดยมีความมุ่งหมายที่จะให้ผู้อ่านโดยเฉพาะอย่างยิ่งเยาวชนไทยตั้งอยู่ในความกตัญญูต่อผู้มีพระคุณและนำแบบอย่างอันดีงามไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน อ่านเพิ่มเติม
ลักษณะการประพันธ์
1. วรรคหนึ่งๆ มีจำนวนคำ 8-10 คำ สองวรรคเป็น 1 คำกลอน หรือ 1 บาท สองคำกลอน
เป็น 1 บท
2. วรรคแรกเรียกว่า วรรคสดับหรือวรรคสลับ วรรคที่สองเรียกว่า วรรครับ วรรคที่สามเรียกว่า วรรครอง และวรรคที่สี่เรียกว่า วรรคส่ง
3. บทแรกของเรื่องเริ่มต้นด้วยวรรครับหรือวรรคที่ 2 และจบเรื่องด้วยคำว่า เอย
4. การส่งสัมผัส คำสุดท้ายของวรรคที่หนึ่งส่งสัมผัสไปยังคำที่ 1 หรือ 2 หรือ 3 หรือ 5 ของวรรคที่ 2 คำสุดท้ายของวรรคที่ 2 ส่งสัมผัสไปยังคำสุดท้ายของวรรคที่ 3 คำสุดท้ายของวรรคที่ 3ส่งสัมผัสไปยังคำที่ 1หรือ 2 หรือ 3 หรือ 5 ของวรรคที่ 4 ในกรณีที่แต่งหลายบท คำสุดท้ายของวรรคที่ 4 ต้องส่งสัมผัสไปยังคำสุดท้ายของวรรคที่ 2 ของบทถัดไป
หลักเกณฑ์การวิจารณ์วรรณคดี
การแยกแยะเพื่อพิจารณาไตร่ตรอง หาข้อดีข้อเสีย หาจุดเด่น
จุดด้อย หาเหตุผล ในการจะนำไปสู่การวินิจฉัยตัดสินใจ เพื่อประเมินคุณค่าของหนังสือในด้านต่าง ๆ เพื่อจุดประสงค์ใดจุดประสงค์หนึ่ง เช่น เพื่อความซาบซึ้ง เพื่อการนำไปประยุกต์ใช้ เพื่อแนะนำหนังสือ อ่านเพิ่มเติม
จุดด้อย หาเหตุผล ในการจะนำไปสู่การวินิจฉัยตัดสินใจ เพื่อประเมินคุณค่าของหนังสือในด้านต่าง ๆ เพื่อจุดประสงค์ใดจุดประสงค์หนึ่ง เช่น เพื่อความซาบซึ้ง เพื่อการนำไปประยุกต์ใช้ เพื่อแนะนำหนังสือ อ่านเพิ่มเติม
วันจันทร์ที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
ประเภทของวรรณคดีไทย
วรรณคดีที่อาจจำแนกตามเกณฑ์กับลักษณะต่างๆของวรรณคดี ดังต่อไปนี้
๑.จำแนกตามลักษณะของการเขียน
๒.จำแนกตามความมุ่งหมายสำคั
๓.จำแนกตามเนื้อหา
๔.จำแนกตามหลักฐานการได้มา
ต่อไปเราจะมาดูกันว่าการจำแนกประเภทของวรรณคดีต่างละชนิดนั้นมีลักษณะอย่างไร อ่านเพิ่มเติม
๑.จำแนกตามลักษณะของการเขียน
๒.จำแนกตามความมุ่งหมายสำคั
๓.จำแนกตามเนื้อหา
๔.จำแนกตามหลักฐานการได้มา
ต่อไปเราจะมาดูกันว่าการจำแนกประเภทของวรรณคดีต่างละชนิดนั้นมีลักษณะอย่างไร อ่านเพิ่มเติม
ความสำคัญของวรรณคดี
ความสําคัญของวรรณคดี
วรรณคดีเป็นสิ่งสร้างสรรค์อันล้ำค่าของมนุษย์
มนุษย์สร้างและสื่อสารเรื่องราวของชีวิต
วัฒนธรรมและอารมณ์ความรู้สึกที่เกี่ยวข้องหรือสะท้อนความเป็นมนุษย์ด้วยกลวิธีการใช้ถ้อยคําสํานวนภาษา ซึ่งมีความเหมือนหรือแตกต่างกันไปในแต่ละยุคสมัย อ่านเพิ่มเติม
การวิจักษ์และการวิจารณ์วรรณคดี
การอ่านวรรณคดี
ผู้อ่านวรรณคดีจะมีจุดมุ่งหมายต่างๆดังนี้
1. อ่านเพื่อความเพลิดเพลินอารมณ์
2. อ่านเพราะชอบว่าเป็นเรื่องที่ถูกกับนิสัยและชีวิตของตน
3. อ่านเพราะชอบว่าเป็นเรื่องที่แปลกและต่างกับที่ตนเคยพบมา
4. อ่านอย่างเพ่งเร็งข้อเท็จจริงเหมือนอ่านตำรา
5. อ่านเพื่อเพิ่มพูนประสบการณ์ชีวิต
6. อ่านเพื่อรับรสความงาม ความไพเราะของบทประพันธ์ อ่านเพิ่มเติม
ผู้อ่านวรรณคดีจะมีจุดมุ่งหมายต่างๆดังนี้
1. อ่านเพื่อความเพลิดเพลินอารมณ์
2. อ่านเพราะชอบว่าเป็นเรื่องที่ถูกกับนิสัยและชีวิตของตน
3. อ่านเพราะชอบว่าเป็นเรื่องที่แปลกและต่างกับที่ตนเคยพบมา
4. อ่านอย่างเพ่งเร็งข้อเท็จจริงเหมือนอ่านตำรา
5. อ่านเพื่อเพิ่มพูนประสบการณ์ชีวิต
6. อ่านเพื่อรับรสความงาม ความไพเราะของบทประพันธ์ อ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)